โรคไม่ติดต่อ (DM-HT)

ผลการดำเนินงาน (ไตรมาส 1-ปัจจุบัน)

ประเด็น DM และ HT การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 2566
ตัวชี้วัด
1. ร้อยละการติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรค DM/HT(NCD ClinicPlusปี 2566)
เป้าหมาย DM ≥ 70 % ,HT ≥ 93 %
2. ร้อยละของผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันได้ดี (NCD ClinicPlusปี 2566)
เป้าหมาย DM ≥ 40 % ,HT ≥ 60 %

FLOW CHART แนวทางการจัดการ เมื่อพบผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาล : ฉบับปรังปรุง มีนาคม 2566

DM 15 ตัว
1.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
2.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ลดลง ≥5%
3.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียน และได้รับการตรวจติดตามและรักษาที่เหมาะสม ≥90%
4.ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วนลงพุง [รอบเอวมากกว่า (ส่วนสูง (ซม.)/2)] ≤60%
5.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะอ้วน [BMI >= 25 กก./ตร.ม.)] ลดลงจากงบประมาณที่ผ่านมา ≥5%
6.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ≥70%
7.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ≥40% (ประเด็นการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 2566)
8.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์ ≥60%
9.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL ≥65%
10.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL < 100 mg/dl ≥55%
11.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ≥60%
12.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ≥60%
13.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ยังไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ≥60%
14.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ≥60%
15.ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันในผู้ป่วยเบาหวาน ≤2%

HT 6 ตัว
1.ร้อยละของประชากร อายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัย HT ≥90%
2 ร้อยละของผู้ป่วย HT รายใหม่ จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจติดตาม (HBPM หรือ OBPM)
3.ร้อยละของผู้ป่วย HT รายใหม่จากผู้ที่มีระดับ BP อยู่ในเกณฑ์เกือบสูง (กลุ่มสี่ยง HT)
4.อัตราป่วยรายใหม่ของ HT ต่อแสนประชากรในปีงบประมาณ
5.ร้อยละผู้ป่วย HTที่ขึ้นทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
6.ร้อยละผู้ป่วย HT ที่ควบคุมระดับ BP ได้ดี ≥60% (ประเด็นการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 2566)

DM และ/หรือHT 5 ตัว
1.ร้อยละของผู้ป่วย DM HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
2.ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่มี CVD Risk ≥ 20% ในช่วงไตรมาส 1,2 และมีผล CVD Risk ลดลง เป็น < 20% ในไตรมาส 3,4
3.ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
4.ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่เป็น CKD 1-4 และได้รับยา ACEi/ARB
5.ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่เป็น CKD 3-4 ชะลอการลดลงของ eGFR ได้ตามเป้าหมาย

DM 6 ตัว
1.ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัย DM
ปรับ Flow แนวทางการคัดกรอง DM ปี 2566
2.ร้อยละของประชากรอายุ 35-59 ปีที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัย DM
ปรับ Flow แนวทางการคัดกรอง DM ปี 2566
ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 87 %
3.ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยง DM ในพื้นที่รับผิดชอบของปีที่ผ่านมาได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ
ปรับนิยามกลุ่มเสี่ยง DM ที่ได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ หมายถึง ประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตรับผิดชอบ ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 100-125 mg/dl หรือค่าระดับน้ำตาลโดยไม่อดอาหาร ≥ 110 mg/dl ของปีที่ผ่านมา ที่ได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดซ้ำ
4.ร้อยละผู้ป่วยDMรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงDMปีที่ผ่านมา (Pre-DM)
ปรับนิยามกลุ่มเสี่ยง DM (Pre-DM) หมายถึง ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร อย่างน้อย 8 ชั่วโมง 100-125 mg/dl หรือค่าระดับน้ำตาลโดยไม่อดอาหาร ≥ 110 mg/dl ในปีที่ผ่านมา ในเขตรับผิดชอบ
5.ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย DM (ประเด็นการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 2566)
ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 70 %
หมายเหตุ : มีการปรับรายละเอียดระหว่างปี 2565 ได้แก่ ปรับค่าเป้าหมาย จากเดิม ≥ 80 % เป็น ≥ 67 % และปรับระยะเวลาการตรวจติดตามจากเดิม 90 วัน เป็น 180 วัน
6.ร้อยละผู้ป่วยDMรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วยที่ได้รับการตรวจยืนยัน
ปรับระยะเวลาการตรวจติดตามยืนวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย DM จาก 90 วัน เป็น 180 วัน

HT 2 ตัว
1.ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัย HT
ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 87 %
2.ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วย HT (ประเด็นการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 2566)
ปรับเป้าหมายเป็น ≥ 93 %